ชื่อกลุ่มคลัสเตอร์
เครือข่ายคลัสเตอร์ผ้าทอพื้นเมืองอุดรธานี
ปีที่ก่อตั้ง
2551
ประเภทอุตสาหกรรม
อื่นๆ (ผ้าและเครื่องแต่งกาย)
ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ
จังหวัด
อุดรธานี
หน่วยงานดูแล
ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 4
แนวทางการพัฒนา
- คลัสเตอร์จะมุ่งในการพัฒนาตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยการสร้างตลาดในประเทศด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานราชการในพื้นที่และในตลาดต่างประเทศโดยการร่วมมือกันเจาะตลาดเฉพาะ ทำการตลาด และสร้างตราสินค้า
- คลัสเตอร์จะร่วมกันปรับปรุงวิธีการผลิต โดยปรับจากวิธีแบบชาวบ้านเป็นแบบมีการใช้เทคโนโลยีเข้าช่วย
- คลัสเตอร์จะมุ่งในการพัฒนา เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าปัจจุบันโดยการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
- คลัสเตอร์จะมีการร่วมมือกับหน่วยงานราชการในพื้นที่ และหน่วยงานสนับสนุนอย่างใกล้ชิดโดยมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มคลัสเตอร์กับสถาบันการศึกษาสถาบันการเงิน และหน่วยงานอื่นๆ อย่างสม่ำเสมอ เพื่อสามารถทำงานด้วยกันอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
วิสัยทัศน์
คลัสเตอร์ผ้าทอพื้นเมือง จังหวัดอุดรธานี จะเป็นคลัสเตอร์ผ้าทอพื้นเมืองที่มุ่งมั่นผลิต จำหน่าย และพัฒนาสินค้าที่มีคุณภาพ เพื่อความเป็นเลิศ ด้วยความสามัคคี ร่วมถักทอฝันสู่ความเป็นสากลอย่างมั่นคง พร้อมสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า
พันธกิจ
- การสร้างตลาด
คลัสเตอร์จะมุ่งในการพัฒนาตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศโดยการสร้างตลาดในประเทศด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานราชการในพื้นที่ และในตลาดต่างประเทศโดยการร่วมมือกันเจาะตลาดเฉพาะ ทำการตลาด และสร้างตราสินค้า - ปรับปรุงการผลิต
คลัสเตอร์จะร่วมกันปรับปรุงวิธีการผลิต โดยปรับจากวิธีแบบชาวบ้านเป็นแบบมีการใช้เทคโนโลยีเข้าช่วย - สร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้า
คลัสเตอร์จะมุ่งในการพัฒนา เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าปัจจุบันโดยการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด - การร่วมมือในพื้นที่
คลัสเตอร์จะมีการร่วมมือกับหน่วยงานราชการในพื้นที่ และหน่วยงานสนับสนุนอย่างใกล้ชิด โดยมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มคลัสเตอร์กับสถาบันการศึกษา สถาบันการเงิน และหน่วยงานอื่นๆ อย่างสม่ำเสมอ เพื่อสามารถทางานด้วยกันอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น
กิจกรรมของคลัสเตอร์ (โครงการนำร่อง)
- การสร้างตลาด
คลัสเตอร์จะมุ่งในการพัฒนาตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศโดยการสร้างตลาดในประเทศด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานราชการในพื้นที่ และในตลาดต่างประเทศโดยการร่วมมือกันเจาะตลาดเฉพาะ ทาการตลาด และสร้างตราสินค้า - ปรับปรุงการผลิต
คลัสเตอร์จะร่วมกันปรับปรุงวิธีการผลิต โดยปรับจากวิธีแบบชาวบ้านเป็นแบบมีการใช้เทคโนโลยีเข้าช่วย - สร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้า
คลัสเตอร์จะมุ่งในการพัฒนา เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าปัจจุบันโดยการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ให้ - การร่วมมือในพื้นที่
คลัสเตอร์จะมีการร่วมมือกับหน่วยงานราชการในพื้นที่ และหน่วยงานสนับสนุนอย่างใกล้ชิด โดยมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มคลัสเตอร์กับสถาบันการศึกษา สถาบันการเงิน และหน่วยงานอื่นๆ อย่างสม่าเสมอ เพื่อสามารถทางานด้วยกันอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น
รายชื่อสมาชิก
อันดับที่บริษัท/ร้านที่ตั้งสถานประกอบการชื่อ-สกุล ผู้ติดต่อข้อมูลการติดต่อ
1 | กลุ่มผ้าฝ้ายทอมือย้อมสีธรรมชาติ | 527/260 ถ.อัศวมิตร ต.หมากแข้ง อ.เมือง อุดรธานี 41000 | คุณอุไร สัจจะไพบูลย์ | 081-6012467, 042-245000 |
2 | กลุ่มมหามิตรหัตถกรรม (ใบหม่อน) | 146 ซ.มหามิตร ถ.ทหาร หมู่ที่ 7 ต.หมากแข้ง อ.เมือง อุดรธานี 41000 | คุณทิวารุ่ง กำหนดแน่ | 081-2612216, 042-244011 |
3 | ร้านวงเดือน | 381 บ้านนาข่า ต.นาข่า อ.เมือง อุดรธานี 41000 | คุณสมหมาย ประเสริฐกุล | 042-206089 |
4 | ร้านฝ้ายแกมไหม | 527/260 ถ.อัศวมิตร ต.หมากแข้ง อ.เมือง อุดรธานี 41000 | คุณอิทธิพล สัจจะไพบูลย์ | 081-6012467, 042-245000 |
5 | กลุ่มอาชีพสหกรณ์บ้านโพนบก | 61 บ้านโพนบก ต.หมากแข้ง อ.เมือง อุดรธานี 41000 | คุณเพ็ญศรี เหนือไพศาล | 087-2179440 |
6 | กลุ่มแปรรูปผ้ามัดหมี่ย้อมคราม | 124 บ้านนาบัว หมู่ที่ 9 ต.นาบัว อ.เพ็ญ อุดรธานี | คุณนวลจันทร์ เอกคณาสิงห์ | 089-8619772 |
7 | กลุ่มทอผ้าบ้านเชียง | 44/13 ต.บ้านเชียง อ.หนองหาน อุดรธานี 41000 | คุณจินตนา คำพิมาน | 042-243863 |
8 | กลุ่มผ้ามัดหมี่ย้อมสีธรรมชาติ | 43 บ้านนาทราย หมู่ที่ 7 ต.นาบัว อ.เพ็ญ อุดรธานี | คุณจารุกาญจน์ สุวรรณบุตร | 086-2424480 |
9 | กลุ่มอาชีพ | 38 บ้านนาโปร่ง หมู่ที่ 7 ต.บะยาว อ.วังสามหมอ อุดรธานี | คุณสมจิต ปิตินพรัตน์ | 081-2609848 |
10 | กลุ่มทอผ้าย้อมคราม | 15 บ้านนาบัว หมู่ที่ 1 ต.นาบัว อ.เพ็ญ อุดรธานี | คุณเสมอ พรมวงษา | 085-0103292 |
11 | ร้านอุดรนาข่าผ้าไทย | 383/13-14 ถ.อุดร-หนองคาย หมู่ที่ 1 ต.นาข่า อ.เมือง อุดรธานี 41000 | คุณสิริลักษณ์ ลือวิเศษไพบูลย์ | 089-7107270 |
12 | 11/1 บ้านหัวบึง ต.บ้านขาว อ.เมือง อุดรธานี 41000 | คุณเฉลิมชัย ไชยวงศ์ | 087-2300300 | |
13 | กลุ่มแปรรูปผ้ามัดหมี่ย้อมคราม | 157 บ้านนาบัว หมู่ที่ 9 ต.นาบัว อ.เมือง อุดรธานี 41000 | คุณพนิดา คุณธรรม | 081-3800973 |
14 | ร้านแก้วกัลยา | 102/5 บ้านโพนบก ถ.เลี่ยงเมือง หมู่ที่ 4 ต.หมากแข้ง อ.เมือง อุดรธานี 41000 | คุณจรรยา ฉิมนอก | 081-7188814 |
15 | ร้านมัตทนา | 88 บ้านนาข่า หมู่ที่ 1 ต.นาข่า อ.เมือง อุดรธานี 41000 | คุณมัตทนา ภูริศรี | 042-218020 |
16 | ร้านกระดุมเงิน | 428 หมู่ที่ 1 ต.นาข่า อ.เมือง อุดรธานี 41000 | คุณปรียา โพธิสีดา | 042-218135 |
17 | ร้านละไม | 214/1 ต.นาข่า อ.เมือง อุดรธานี 41000 | คุณละไม น้ำใส | 081-6709216 |
18 | ร้านวิไลลักษณ์ | 54/2 บ้านนาข่า หมู่ที่ 1 ต.นาข่า อ.เมือง อุดรธานี 41000 | คุณสหัส บูชากุล | 081-9545380, 042-206080 |
19 | ร้านโลผ้าไทย | 131 หมู่ที่ 1 ต.นาข่า อ.เมือง อุดรธานี 41000 | คุณนวลฉวี บุตรธนู | 042-206434 |
20 | ร้านแววผ้าฝ้าย | 97/1 หมู่ที่ 1 ต.นาข่า อ.เมือง อุดรธานี | คุณทัศนี สีหาบุตร | 081-2635734 |
SWOT
จุดแข็งจุดอ่อนโอกาสอุปสรรค
- บางกลุ่มใช้ไหมที่เลี้ยงเอง ต้นทุนวัตถุดิบจึงต่ำ
- ได้มาตรฐาน มีคุณภาพหลายกลุ่ม
- ใช้สีย้อมธรรมชาติ
- ทำตามที่ลูกค้าต้องการได้
- มีลายที่เป็นเอกลักษณ์
- การติดต่อสื่อสารสะดวกรวดเร็ว
- ใช้เทคโนโลยีในการผลิตเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน
- จำหน่ายสินค้าผ่านระบบ e-commerce
- ผู้ทอมีความสามารถในการทอสูง ประณีต
- มีภูมิปัญญาท้องถิ่น
- มีผู้นำที่เข้มแข็ง
- กลุ่มผู้ผลิตมีความชานาญและทักษะในการผลิตยอดเยี่ยม
- จำนวนบุคลากรของกลุ่มทอผ้าในพื้นที่มีจานวนมาก
- ราคาขายไม่สูง
- ไม่มีทุนในการทำธุรกิจ
- ค่าแรงต่ำ
- ไม่มีราคามาตรฐาน
- สินค้าบางชนิดผลิตเยอะ ขายไม่ได้ สินค้าเหลือค้าง สต๊อก
- ขาดเงินทุนหมุนเวียนในการลงทุน
- ขาดแหล่งวัตถุดิบ ร้านจาหน่ายด้าย,ไหมมีน้อย ราคาจึงสูง
- บางกลุ่มยังขาดทักษะการย้อมที่ถูกต้องทาให้ผ้าไม่ได้คุณภาพ
- ไม่มีลวดลายใหม่ๆ
- คนออกแบบมีน้อย
- ไม่สามารถผลิตวัตถุดิบได้เองในพื้นที่
- อุปกรณ์การทอเก่า ชำรุด
- อุปกรณ์การทอไม่ทันสมัย
- ขาดนวัตกรรม เช่น ทาผ้านุ่ม,ผ้าหอม
- ไม่สามารถสื่อสารกับลูกค้าต่างชาติได้
- บุคลากรของกลุ่มทอผ้าส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้สูงวัย (ขาดการถ่ายทอดสู่รุ่นลูกหลาน)
- นโยบายรัฐสนับสนุนด้านการเงินแก่วิสาหกิจ และผู้ประกอบการ
- มีหน่วยงานภาครัฐหลายหน่วยงานสนับสนุนด้านการอบรมเพิ่มความสามารถในการผลิต
- ในจังหวัดอุดรธานีมีการผลิตครบวงจรตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ จนถึงปลายน้ำ
- ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีทาให้การสร้างเครือข่ายได้มากขึ้น
- มีการรวมกลุ่มกันมากขึ้น
- มีหน่วยงานหลายหน่วยงานช่วยสนับสนุนในด้านการรวมกลุ่ม
- ไม่มีหน่วยงานสนับสนุนในการปลดหนี้
- ไม่มีหน่วยงานให้กู้ยืมเงิน
- ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุน
- สีธรรมชาติไม่สามารถทาได้เหมือนเดิม เป็นไปตามฤดูกาล
- ขาดการวิจัยและพัฒนา
- ขาดเครื่องมือที่ทันสมัย
- ขาดความรู้และความเข้าใจในเทคโนโลยี โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์
- ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้จากหน่วยภาครัฐเข้ามาให้ความรู้ที่ทันสมัยในการออกแบบแปรรูป